ผลทดสอบชี้! สารสกัดสมุนไพรใน AloEx ช่วยลดผมร่วงได้ ด้วยสารประเภท Terpene และสารต้านอนุมูลอิสระที่สูงมาก
ผลทดสอบจากสถาบันวิจัย Research Centre for Bioorganic Chemistry (RCBC) คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2566 พบสารประเภท Terpene และสารต้านอนุมูลอิสระสูงในผลิตภัณฑ์สำหรับผู้มีปัญหาผมขาดร่วง AloEx ซึ่งใช้ส่วนผสมหลักเป็นสมุนไพรสกัด โดย AloEx ได้คัดเลือกสมุนไพรหลักทั้งหมด 15 ชนิด ในการดูแลปัญหาผมร่วง ได้แก่ อัญชัน, ว่านหางจระเข้, ไผ่, ทองพันชั่ง, มะขามป้อม, รำข้าว, ดอกคำฝอย, พญายอ, ใบบัวบก, ประคำดีควาย, สารภี, มะลิ, เทียนกิ่ง, มะขาม และใบมะกรูด ซึ่งตามตำรับแพทย์แผนไทยโบราณ มีการใช้สมุนไพรเหล่านี้ในการรักษาผมร่วงอยู่ก่อนแล้ว เพราะสมุนไพรข้างต้นมีคุณสมบัติที่ดีมากมาย ได้แก่
- ช่วยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ 5α-Reductase ลดโอกาสเกิดฮอร์โมน Dihydrotestosterone หรือฮอร์โมน DHT ที่เป็นอีกหนึ่งสาเหตุทำให้ผมร่วง (งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [1] [2] [3])
- กระตุ้นผมงอกใหม่ โดยการกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดบนหนังศีรษะ ทำให้สารอาหาร โปรตีน วิตามิน และแร่ธาตุต่างๆ ไหลเวียนไปเลี้ยงหนังศีรษะได้ดีขึ้น ทำให้ผมงอกใหม่ได้ดีขึ้น (งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [4] [5] [6])
- ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา อันเป็นสาเหตุทำให้ผมร่วง (งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [7] [8])
- ต้านการอักเสบของหนังศีรษะ ซึ่งนอกจากจะทำให้ผมร่วงแล้ว ยังทำให้เกิดรังแคได้อีกด้วย (งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [9] [10] [11] )
- ต้านสารอนุมูลอิสระ ต้นเหตุทำให้เซลล์รากผมแก่ และผมร่วงก่อนวัย (งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [8] [11] [12] [13] [14])
พบสารประเภท Terpene สำคัญ 9 ชนิด ใน AloEx ที่ช่วยลดผมร่วง และลดปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้ผมร่วง พร้อมช่วยแก้ผมร่วง เพิ่มผมหนาได้
α-Bisabolene
คุณสมบัติ:
- ลดการอักเสบ ระคายเคือง และปรับสมดุลหนังศีรษะ
- บำรุงเส้นผมให้แข็งแรงตั้งแต่รากจนถึงปลายผม
- ลดอาการคันและรังแค
- ลดผมร่วง
Copaene
คุณสมบัติ:
- ช่วยลดอาการคัน และรังแค ที่เกิดจากแบคทีเรียและเชื้อราที่หนังศีรษะ
- ต้านหนังศีรษะอักเสบและระคายเคือง
- ลดผมร่วง
Humulene
คุณสมบัติ:
- ลดการอักเสบและระรายเคืองของหนังศีรษะที่อ่อนแอ แพ้ง่าย
- บรรเทาอาการคัน ลดรังแค
- แก้ผมร่วง เพิ่มผมหนา ด้วยการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดที่หนังศีรษะ
- ต้านเชื้อรา
α-Muurolene
คุณสมบัติ:
- ต้านการอักเสบ ลดแบคทีเรีย และเชื้อราที่หนังศีรษะ
- ลดอาการคัน และระคายเคืองที่หนังศีรษะ
- ลดผมร่วง
- แก้ผมร่วง เพิ่มผมหนา ด้วยการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดที่หนังศีรษะ
γ-Muurolene
คุณสมบัติ:
- ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันเส้นผมจากความเสียหายที่เกิดจากมลภาวะและความเครียด
- ต้านการอักเสบ ลดอาการคัน และระคายเคืองที่หนังศีรษะ
- เพิ่มความชุ่มชื้นให้หนังศีรษะ
- บำรุงหนังศีรษะให้แข็งแรง
α-Farnesene
คุณสมบัติ:
- ต้านการอักเสบ ลดอาการคัน และระคายเคืองที่หนังศีรษะ
- ลดผมร่วง
- แก้ผมร่วง เพิ่มผมหนา ด้วยการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดที่หนังศีรษะ
Cadinene
คุณสมบัติ:
- ต้านการอักเสบ ลดอาการคัน และระคายเคืองที่หนังศีรษะ
- แก้ผมร่วง เพิ่มผมหนา ด้วยการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดที่หนังศีรษะ
- ต้านเชื้อรา ลดสาเหตุที่ทำให้เกิดรังแค
Caryophyllene
คุณสมบัติ:
- ต้านการอักเสบ ลดอาการคัน และระคายเคืองที่หนังศีรษะ
- แก้ผมร่วง เพิ่มผมหนา ด้วยการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดที่หนังศีรษะ
- ต้านเชื้อราและแบคทีเรียที่หนังศีรษะ
D-Limonene
คุณสมบัติ:
- ทำความสะอาดหนังศีรษะให้สะอาด ปราศจากสิ่งสกปรกและน้ำมันส่วนเกิน
- ต้านเชื้อราและแบคทีเรียที่หนังศีรษะ
- แก้ผมร่วง เพิ่มผมหนา ด้วยการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดที่หนังศีรษะ
จากผลทดสอบ พบสารต้านอนุมูลอิสระใน AloEx สูงมาก ทำให้มีผลต่อการลดผมร่วงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อนุมูลอิสระ (Free Radical) คืออะไร
อนุมูลอิสระ ทำให้ผมร่วงได้ยังไง?
สารต้านอนุมูลอิสระสูงดีต่อหนังศีรษะและเส้นผมอย่างไร
ผลิตภัณฑ์ดูแลหนังศีรษะและเส้นผม AloEx ผ่านการทดสอบแล้วว่า สารสกัดสมุนไพรในผลิตภัณฑ์ต่างๆ มีค่าสารต้านอนุมูลอิสระสูงมากถึง 371 เท่า ของ Trolox และมีค่า IC₅₀ = 24 μg/ml ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารสกัดธรรมชาติอื่นๆ ที่ขึ้นชื่อว่ามีสารต้านอนุมูลอิสระสูง จะเห็นได้ว่าสารสกัดสมุนไพรในผลิตภัณฑ์ AloEx มีค่าสารต้านอนุมูลอิสระมากกว่าอย่างเห็นได้ชัด สามารถฟื้นฟูสุขภาพหนังศีรษะและเส้นผมที่ถูกทำลายจากอนุมูลอิสระ พร้อมปกป้องจากความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- AloEx Phenolic Complex Extract 371 mg TE/g. ⁽¹⁾
- Black Tea 181.32 mg TE /g. ⁽²⁾
- Green Tea 123.88 mg TE/g. ⁽³⁾
- Berry 100.06 mg TE /g. ⁽⁴⁾
- Grape Seed 70.83 mg TE/g. ⁽⁵⁾
- Rosemary 50.7 mg TE/g. ⁽⁶⁾
(ค่า IC₅₀ ที่ยิ่งน้อยแปลว่า สามารถต้านอนุมูลอิสระได้ดี โดยถ้าต่ำกว่า 50 μg/ml แปลว่า สามารถต้านอนุมูลอิสระได้สูงมาก)
ดูแลหนังศีรษะ ปกป้องเส้นผมจากอนุมูลอิสระด้วยผลิตภัณฑ์ AloEx
- AloEx Black Shampoo แชมพูลดผมขาดร่วงสูตรข้าวเหนียวดำ สำหรับผมแห้งเสียและผมทำสี ช่วยทำความสะอาดสิ่งสกปรก ขจัดสารเคมีและมลภาวะที่ตกค้างบนหนังศีรษะ อุดมด้วย Natural Oils ช่วยบำรุงหนังศีรษะและเส้นผมชุ่มชื้น ลดผมแห้งเสียแตกปลาย ลดหนังศีรษะแห้งลอกเป็นขุย
- AloEx Extra Mild Shampoo แชมพูลดผมขาดร่วงสูตรอ่อนโยนพิเศษ สำหรับผู้ที่มีผิวบอบบาง แพ้ ระคายเคืองง่าย หรือคุณแม่ที่มีปัญหาผมขาดร่วงในช่วงตั้งครรภ์ถึงหลังคลอด มีส่วนผสมจากดอกคำฝอย รำข้าว มะขามป้อม อัญชัน และอื่นๆ รวม 18 ชนิด ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งฮอร์โมน DHT ต้นเหตุปัญหาผมขาดร่วง
- AloEx Natural Hair Mask ทรีทเม้นท์บำรุงเส้นผมและหนังศีรษะ สามารถใช้หมักหรือนวดผมแทนครีมนวดทุกวันตั้งแต่โคนจรดปลายผม โดยไม่เสี่ยงอุดตันหรือทำให้ผมมัน ไม่มีส่วนผสมของซิลิโคน แอลกอฮอล์ พาราเบน และซัลเฟต (Sulfates – SLS/SLES) ช่วยล็อกความชุ่มชื้นให้หนังศีรษะ นวดเส้นผมนุ่มลื่นมีวอลลุ่ม
- AloEx Cute Eyebrow Nourishing Cream ครีมทาบำรุงเฉพาะจุดสำหรับคิ้วและเส้นผมในบริเวณที่ต้องการ เช่น แสกกลาง ไรผม จอนผม หนวด และเครา เป็นต้น มีส่วนผสมของสเต็มเซลล์แอปเปิล ชาเขียว และพืชตระกูลสน ซึ่งผ่านการวิจัยแล้วว่าสามารถช่วยเพิ่มความหนาแน่นของเส้นผมได้
ไม่เพียงผ่านการทดสอบจากสถาบัน RCBC จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเรื่องของการต้านสารอนุมูลอิสระเท่านั้น สารสกัดสมุนไพร AloEx Hydrosol ยังได้รับการทดสอบจาก RCBC ว่ามีสาร Terpene ทรงคุณค่ามากถึง 9 ชนิดที่ช่วยแก้ปัญหาเรื่องของสุขภาพเส้นผมและหนังศีรษะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของผมร่วง ผมบาง รังแค เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้รับการยอมรับจากลูกค้าผู้ใช้จริงที่รีวิวผลลัพธ์และความประทับใจหลังใช้ผลิตภัณฑ์ลดผมขาดร่วง AloEx โดย 92% ของผู้ใช้จริงสัมผัสได้ถึงความเปลี่ยนแปลง “ผมขาดร่วงน้อยลง และมีเส้นผมงอกใหม่ใน 1 เดือน*”
**อ้างอิงจากผลสำรวจของผู้ใช้จริงระหว่างวันที่ 15 พ.ค. 2562 – 30 มิ.ย. 2562 จำนวน 1,633 คน โดย 92.35% ผมขาดร่วงลดลงหรือมีผมงอกใหม่ และ 58% เห็นผลใน 1-2 เดือน
สนใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ AloEx ในราคาพิเศษ สามารถดูโปรโมชั่นออนไลน์ได้บนเว็บไซต์ หรือช่องทางสั่งซื้อออนไลน์ต่อไปนี้
อ้างอิง
(1) ผลทดสอบโดย Research Centre for Bioorganic Chemistry (RCBC) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2024
(2) Tang, G.-Y., Zhao, C.-N., Xu, X.-Y., Gan, R.-Y., Cao, S.-Y., Liu, Q., Shang, A., Mao, Q.-Q., & Li, H.-B. (2019). Phytochemical composition and antioxidant capacity of 30 Chinese teas. Antioxidants, 8(6), 180. https://doi.org/10.3390/antiox8060180
(3) Bartoszek, M., Polak, J., & Chorążewski, M. (2018). Comparison of antioxidant capacities of different types of tea using spectroscopy methods and a semi-empirical mathematical model. European Food Research and Technology, 244(3), 595–601. https://doi.org/10.1007/s00217-017-2986-z
(4) Kim, J.-S. (2018). Antioxidant activities of selected berries and their free, esterified, and insoluble-bound phenolic acid contents. Preventive Nutrition and Food Science, 23(1), 35–45. doi: 10.3746/pnf.2018.23.1.35
(5) Ma, Z. F., & Zhang, H. (2017). Phytochemical constituents, health benefits, and industrial applications of grape seeds: A mini-review. Antioxidants, 6(3), 71. DOI: 10.3390/antiox6030071
(6) Fernandes, R. P. P., Trindade, M. A., Tonin, F. G., Lima, C. G., Pugine, S. M. P., Munekata, P. E. S., Lorenzo, J. M., & de Melo, M. P. (2016). Evaluation of antioxidant capacity of 13 plant extracts by three different methods: Cluster analyses applied for selection of the natural extracts with higher antioxidant capacity to replace synthetic antioxidant in lamb burgers. *Journal of Food Science and Technology, 53*(1), 451–460. https://doi.org/10.1007/s13197-015-1994-x
งานวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพรที่เกี่ยวข้อง
(1) Kumar, N., Rungseevijitprapa, W., Narkkhong, N.-A., Suttajit, M., & Chaiyasut, C. 5α-Reductase inhibition and hair growth promotion of some Thai plants traditionally used for hair treatment. Journal of Ethnopharmacology, 2011:135(3), 529-535
(2) Stansbury, J. (2016, April 4). Herbal Medicines for Hair Loss. Borealis Naturopathic Health Centre. https://whyborealis.ca/naturopathic/herbal-medicines-for-hair-loss/
(3) Morikawa, T., Luo, F., Manse, Y., Sugita, H., Saeki, S., Chaipech, S., Pongpiriyadacha, Y., Muraoka, O., & Ninomiya, K. Geranylated coumarins from Thai medicinal plant Mammea siamensis with testosterone 5α-reductase inhibitory activity. Frontiers in Chemistry, 2020: 8, 199. https://doi.org/10.3389/fchem.2020.00199
(4) Choi, Y. M., An, S., Lee, J., Lee, J. H., Lee, J. N., Kim, Y. S., Ahn, K. J., An, I.-S., & Bae, S. Titrated extract of Centella asiatica increases hair inductive property through inhibition of STAT signaling pathway in three-dimensional spheroid cultured human dermal papilla cells. Bioscience Biotechnology and Biochemistry, 2017:81(12), 2323–2329. https://doi.org/10.1080/09168451.2017.1385383
(5) Saansoomchai, P., Limmongkon, A., Surangkul, D., Chewonarin, T., & Srikummool, M. Enhanced VEGF Expression in Hair Follicle Dermal Papilla Cells by Centella asiatica Linn. CMU J. Nat. Sci., 2018:17(1), 25. https://doi.org/10.12982/CMUJNS.2018.0003
(6) Kang, J.-I., Choi, Y. K., Han, S.-C., Kim, H. G., Hong, S. W., Kim, J., Kim, J. H., Hyun, J. W., Yoo, E.-S., & Kang, H.-K. Limonin, a Component of Immature Citrus Fruits, Activates Anagen Signaling in Dermal Papilla Cells. Nutrients, 2022:14(5358). https://doi.org/10.3390/nu14245358
(7) Latirah , Nugroho P. D. Fomulation of Antidandruff Shampoo From Skin Fruit Extract And Press Water Lime (Citrus Hystirx DC.) With Various Concentrations. Sanitas Jurnal Teknologi Dan Seni Kesehatan, 2020:11(2), 136-148 https://doi.org/10.36525/sanitas.2020.12
(8) Nasution, S. L. R., Nasution, A. N., & Nasution, S. W. An Experiment for Extracted Citrus Hystrix Leaf Effectiveness on Pityrosporum Ovale Fungi Growth. In Proceedings of the International Conference on Health Informatics, Medical, Biological Engineering, and Pharmaceutical (HIMBEP 2020) (pp. 291-295). SCITEPRESS – Science and Technology Publications. https://doi.org/10.5220/0010352902910295
(9) Park, K. S. Pharmacological effects of Centella asiatica on skin diseases: Evidence and possible mechanisms. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine, 2021, Article ID 5462633, 8 pages. https://doi.org/10.1155/2021/5462633
(10) Vardy, D. A., Cohen, A. D., Tchetov, T., Medvedovsky, E., & Biton, A. A double-blind placebo-controlled trial of an Aloe vera (A. barbadensis) emulsion in the treatment of seborrheic dermatitis. Journal of Dermatological Treatment, 1999:10(1), 7-11. https://doi.org/10.3109/09546639909055904
(11) Surjushe, A., Vasani, R., & Saple, D. G. Aloe Vera: A Short Review. Indian Journal of Dermatology, 2008:53(4), 163–166. https://doi.org/10.4103/0019-5154.44785
(12) Panee, J. Potential Medicinal Application and Toxicity Evaluation of Extracts from Bamboo Plants. J Med Plant Res, 2015:9(23), 681-692. doi: 10.5897/jmpr2014.5657
(13) Wu, L.-C., Lin, C.-L., Peng, C.-C., Huang, T.-L., Tsai, T.-H., Kuan, Y.-E., & Chung, Y.-C. Development from Jasminum sambac Flower Extracts of Products with Floral Fragrance and Multiple Physiological Activities. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine, 2021, Article 7657628. https://doi.org/10.1155/2021/7657628
(14) Butryee, C., & Kupradinun, P. Antioxidant capacity of Citrus hystrix leaf using in vitro methods and their anticlastogenic potential using the erythrocyte micronucleus assay in the mouse. Toxicology Letters, 2008:180S, S79. https://doi.org/10.1016/j.toxlet.2008.06.505